O24 – มาตรการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน

มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
ภายในสถานีตำรวจภูธรหนองไผ่
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๗

มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ ของสถานีตำรวจภูธรหนองไผ่

ตามที่ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ได้ร่วมกับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในการขยายการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ลงสู่ “สถานีตำรวจภูธร” ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ ในฐานะหน่วยงานในสังกัดของตำรวจภูธรภาค ๖ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งมีภารกิจในการให้บริการแก่ผู้รับบริการในเขตพื้นที่ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงบทบาท และความสำคัญของการบริหารราชการของสถานีตำรวจภูธร และเกิดกลไกการมีส่วนร่วมและการป้องกันการทุจริตในการบริหารราชการในเขตพื้นที่ตำรวจภูธรภาค ๖ ควบคู่ไปกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตำรวจภูธร จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการพัฒนาระบบการบริหารราชการ การให้บริการ ให้มีคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานีตำรวจ นั้น
สถานีตำรวจภูธรหนองไผ่ ได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของสถานีตำรวจภูธร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ รายละเอียดดังนี้
1. การชี้แจงและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตำรวจภูธรหนองไผ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ แก่เจ้าหน้าที่ตำรวจในสถานี

สถานีตำรวจภูธรหนองไผ่ ได้ดำเนินการประชุมชี้แจงการขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โดยมี พันตำรวจเอก ฐานุพงศ์ แสงซื่อ ผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรหนองไผ่ เป็นประธานในการประชุม ซึ่งการประชุมดังกล่าวมีวัตถุประสงค เพื่อแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตำรวจ และทำความเข้าใจในกรอบการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประกอบด้วย 3 ประเด็นสำคัญ ได้แก่
1) การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT)
– ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องของสถานีตำรวจได้ศึกษาการเข้าใช้ระบบ ITAP พร้อมจัดทำข้อมูลสาธารณะตามแบบฟอร์มที่กำหนดลงในระบบดังกล่าวภายในกำหนด
2) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT)
– ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจทำความเข้าใจในข้อคำถามและสร้างความรับรู้ ตระหนักรู้เกี่ยวกับประเด็นข้อคำถามให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในทราบ ก่อนทำการประเมินแบบวัดการรับรู้ดังกล่าวภายในกำหนด
3) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT)
– ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องของสถานีตำรวจนำช่องทางการประเมินผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ให้เกิดความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการ ก่อนทำการประเมินแบบวัดการรับรู้
สถานีตํารวจภูธรหนองไผ่ มีการประชุมทำความเข้าใจแก่ข้าราชการตำรวจได้รับรู้ และมีการซักซ้อม และวางแผน เพื่อดําเนินการเกี่ยวกับมาตรการ/กิจกรรม การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตํารวจภูธรหนองไผ่ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.256๗ เพื่อให้ข้าราชการตํารวจในสังกัดรับทราบ และร่วม ปฏิบัติตามมาตรการ/กิจกรรม พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินจากเจ้าหน้าที่สํานักงาน ป.ป.ช. ในระหว่างการดําเนินการตามมาตรการ/กิจกรรม ได้มีการติดตาม และรายงานผล รวมทั้งการเผยแพร่ข้อมูล OPEN DATA บนเว็บไซต์ ของสถานีตำรวจ และมีการประชุมวางแผนและแบ่งมอบหน้าที่ในการดำเนินการ และมีการกํากับติดตามโดย ผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรหนองไผ่ และหัวหน้างานแต่ละสายงาน ของสถานีตํารวจภูธรหนองไผ่ ด้วยทุกครั้ง

2. การศึกษา และวิเคราะห์กรอบการประเมิน และประเด็นที่สถานีตำรวจภูธรต้องปรับปรุง และพัฒนาโดยเร่งด่วน
สถานีตำรวจภูธรหนองไผ่ ได้ดำเนินการศึกษา และวิเคราะห์กรอบการประเมิน และประเด็นที่สถานีตำรวจภูธรต้องปรับปรุง และพัฒนาโดยเร่งด่วน ในการเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของสถานีตำรวจภูธร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ รายละเอียดดังนี้
ตัวชี้วัดการประเมิน ITA ประเด็นที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาโดยเร่งด่วน
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน
1) การปฏิบัติหน้าที่ 1. มาตรฐานการปฏิบัติงาน มีความโปร่งใส ในการปฏิบัติงานหรือดำเนินการ ตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด และจะต้องเป็นไปอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่าจะเป็นผู้มาติดต่อทั่วไปหรือผู้มาติดต่อที่รู้จักกันเป็นการส่วนตัว
2. การปฏิบัติงานอย่างมุ่งมั่น เต็มความสามารถ และมีความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ ในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างมีคุณธรรม
3. พฤติกรรมการเรียกรับเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่น ๆ ของบุคลากรอื่น เพื่อแลกกับการใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติหน้าที่ และการรับของขวัญ ของกำนัลในช่วงเทศกาลหรือวาระสำคัญต่างๆ จากบุคคลอื่น ซึ่งถือเป็นความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการรับสินบน

ตัวชี้วัดการประเมิน ITA ประเด็นที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาโดยเร่งด่วน
2) การใช้งบประมาณ 1. การจัดทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีและเผยแพร่อย่างโปร่งใส การจัดซื้อจัดจ้าง/การจัดหา พัสดุ และการตรวจรับพัสดุที่มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และปราศจากการเอื้อประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง ใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานอย่างคุ้มค่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์ รวมถึงการเบิกจ่ายเงินของบุคลากรภายใน เช่น ค่าทำงานล่วงเวลา ค่าวัสดุอุปกรณ์ หรือค่าเดินทาง ฯลฯ เป็นต้น
2. การใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยมีกระบวนการเป็นลำดับ และมีการมอบหมายผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน การเปิดโอกาสให้บุคลากรภายในมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานตนเองได้
3) การใช้อำนาจ 1. การมอบหมายงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานจะต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
2. การใช้อำนาจสั่งการให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำในธุระส่วนตัวของผู้บังคับบัญชาหรือทำในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
3. การประเมินเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคล ที่อาจเกิดการแทรกแซงจากผู้มีอำนาจ การซื้อขายตำแหน่ง หรือการเอื้อผลประโยชน์ให้กลุ่มหรือพวกพ้อง
4) การใช้ทรัพย์สินของราชการ 1. การนำทรัพย์สินของราชการของหน่วยงานไปเป็นของตนเองหรือผู้อื่น
๒.การวางระบบของสถานีตํารวจในการจัดเก็บรักษาเงินหรือทรัพย์สินของกลางในคดี เพื่อป้องกันการไม่นำเงินหรือทรัพย์สินของกลางเข้าสู่ระบบ
3. จัดทำแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้อง เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรภายในได้รับทราบและนำไปปฏิบัติ รวมถึงระบบการจ่ายยืม และตรวจสอบติดตามทรัพย์สินของทางราชการที่มีการนำไปใช้งาน

ตัวชี้วัดการประเมิน ITA ประเด็นที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาโดยเร่งด่วน
5) การแก้ไขปัญหาการทุจริต 1. การต่อต้านการทุจริตอย่างจริงจัง ผู้บังคับบัญชาต้องเป็นแบบอย่าง สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดความโปร่งใส ตรวจสอบได้
2. จัดทำแผนการบริหารความเสี่ยงการทุจริต เพื่อลดโอกาสการทุจริตของเจ้าหน้าที่ มีมาตรการกำกับ ดูแล สอดส่องจากผู้บังคับบัญชาแต่ละสายงานอย่างเป็นรูปธรรม
๓.การมีกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต และการมีแนวทางป้องกันและปราบปรามการทุจริตของแต่ละสายงานที่ชัดเจน ตลอดจนความสําเร็จในการยับยั้งการทุจริตของหน่วยงาน
๔. สร้างกระบวนการเฝ้าระวัง ตรวจสอบการทุจริตภายในหน่วยงาน รวมถึงการนำผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบจากทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ไปปรับปรุงการทำงาน เพื่อป้องกันการทุจริต
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
6) คุณภาพการดำเนินงาน 1. การรับรู้ของผู้มารับบริการ ต่อคุณภาพการดำเนินงาน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ โดยยึดหลักตามมาตรฐาน ขั้นตอน และระยะเวลาที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด และจะต้องเป็นไปอย่างเท่าเทียมกันไม่เลือกปฏิบัติ
2. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการให้บริการของหน่วยงานแก่รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างตรงไปตรงมา ไม่ปิดบังหรือบิดเบือนข้อมูล ซึ่งสะท้อนถึงการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคุณธรรม
3. การถูกเจ้าหน้าที่เรียกรับเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นๆ เพื่อแลกกับการปฏิบัติหน้าที่ด้วย
4. การบริหารงานและการดำเนินงานในภาพรวม ที่จะต้องคำนึงถึงประโยชน์ของผู้รับบริการและส่วนรวมเป็นหลัก ไม่มีการเอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
7) ประสิทธิภาพการสื่อสาร 1. การเผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานในเรื่องต่างๆต่อสาธารณชน ผ่านช่องทางที่หลากหลาย อาทิ Website สามารถเข้าถึงได้ง่าย และไม่ซับซ้อน โดยข้อมูลที่เผยแพร่จะต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลการดำเนินงานของหน่วยงานและข้อมูลที่สาธารณชนควรรับทราบ รวมถึงการจัดให้มีช่องทางให้ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถส่งคำติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงาน/การให้บริการ และมีการชี้แจงในกรณีที่มีข้อกังวลสงสัยได้อย่างชัดเจน
2. การจัดให้มีช่องทางให้ผู้มาติดต่อสามารถร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานด้วย ซึ่งสะท้อนถึงการสื่อสารกับผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดการประเมิน ITA ประเด็นที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาโดยเร่งด่วน
8) การปรับปรุงระบบการทำงาน 1. การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และกระบวนการทำงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น รวมไปถึงการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
2. การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการด้วย
3. การให้ความสำคัญกับการปรับปรุงการดำเนินงานให้มีความโปร่งใส มีมาตรฐาน อยู่ในกรอบระยะเวลา และตรวจสอบได้
แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
9) การเปิดเผยข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์ของสถานีตำรวจให้สาธารณชนได้รับทราบใน 5 ประเด็น ได้แก่
1. ข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน ข่าวประชาสัมพันธ์ และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
2. การบริหารงาน ได้แก่ แผนดำเนินงาน การปฏิบัติงาน และการให้บริการ
3. การบริหารเงินงบประมาณ ได้แก่ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี และการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
4. การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ได้แก่ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล และหลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
5. การส่งเสริมความโปร่งใสในหน่วยงาน ได้แก่ การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต และการเปิดโอกาสให้เกิด การมี ส่วนร่วม ซึ่งการเผยแพร่ข้อมูลในประเด็นข้างต้น แสดงถึงความโปร่งใสในการบริหารงานและการดำเนินงานของหน่วยงาน
10) การป้องกันการทุจริต 1. การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต ได้แก่ เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร และแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
2. มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต ได้แก่ มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต ซึ่งการเผยแพร่ข้อมูลในประเด็นข้างต้นแสดงถึงการให้ความสำคัญต่อผลการประเมินเพื่อนำไปสู่การจัดทำมาตรการส่งเสริมความโปร่งใสภายในหน่วยงาน และมีการกำกับติดตามการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

3. การกําหนดมาตรการ/กิจกรรม ในการเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่ง ในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตํารวจภูธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.256๗ ทั้งด้านระบบงานพฤติกรรมและวัฒนธรรมของผู้ปฏิบัติงาน การสื่อสารสร้างการรับรู้ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก แยกตามตัวชี้วัด
สถานีตํารวจภูธรหนองไผ่ ไดําเนินการกําหนดมาตรการ/กิจกรรม ในการเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ( Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตํารวจภูธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.256๗ ทั้งด้านระบบงานพฤติกรรมและวัฒนธรรมของผู้ปฏิบัติงานการสื่อสารสร้างการรับรู้ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก แยกตามตัวชี้วัด และ กําหนดแนวทางยกระดับและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน 2 ด้าน ดังต่อไปนี้
๑) การพัฒนายกระดับการให้บริการ/ One Stop Service เพื่ออํานวยความสะดวกผู้รับบริการที่มารับบริการโดยสถานีตํารวจดําเนินการปรับปรุงพัฒนาหน่วยงาน ดังต่อไปนี้
๑.๑ จุดบริการประชาสัมพันธ์/สอบถามความคืบหน้าของการดําเนินคดี
๑.๒ ป้ายการประชาสัมพันธ์บริเวณจุดบริการ
๑.๓ ป้ายพันธะสัญญา – (หมายเหตุ : ป้ายมีความสมบูรณ์ไม่ชํารุด ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่สม่ำเสมอ)
๑.๔ ป้าย No Gift Policy
๑.๕ ภาพป้ายประชาสัมพันธ์ให้บริการ Download คู่มือการให้บริการ
๑.๖ ภาพการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกการให้บริการผู้รับบริการ
(๒) ยกระดับการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ (OIT) ตามแบบตรวจสอบการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
๒.๑ การจัดทําเว็บไซต์/ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
๒.๒ การจัดทําข้อมูลสาธารณะตามเกณฑ์การประเมินและข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ
๒.๓ การกํากับติดตามการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะอย่างต่อเนื่อง
มีรายละเอียดตามตารางดังนี้

แนวทางการยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสถานีตำรวจ
๑) การพัฒนายกระดับการให้บริการผู้รับบริการ/ จุดบริการ One Stop Service
ด้าน ประเด็นที่ต้องปรับปรุง/ยกระดับการพัฒนา ผู้รับผิดชอบ
จุดบริการประชาสัมพันธ์/
สอบถามความคืบหน้าของการ
ดําเนินคดี – จุดบริการประชาสัมพันธ์ ได้มีการจัดให้เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ เพื่อติดต่อประสานงานแต่ละสายงานในเบื้องต้นกับผู้มารับบริการ
– มีการแสดงตารางเวรการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานประจำวัน พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้
– จัดให้มีช่องทางให้ผู้รับบริการสอบถามความคืบหน้าการดำเนินงานหรือดําเนินคดี และมีการประชาสัมพันธ์ภายในห้อง One Stop Service ของสถานีตำรวจ พ.ต.ท.ภูวดล ทองดี
สว.อก.
ควบคุมการปฏิบัติ
ร.ต.ต.ธีระชาติ ขัตติยะเจ้าหน้าที่
พัสดุจัดทําป้าย
ป้ายการประชาสัมพันธ์บริเวณจุดบริการ ภาพป้ายการประชาสัมพันธ์บริเวณจุดบริการ มีการติดตั้งให้ผู้มารับบริการสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เพื่อง่ายต่อการติดต่อราชการได้รวดเร็ว ที่จุดบริการ One Stop Service พ.ต.ท.ภูวดล ทองดี
สว.อก.ควบคุมการปฏิบัติ
ร.ต.ต.ธีระชาติ ขัตติยะเจ้าหน้าที่พัสดุ
จัดทําป้าย
ป้ายพันธะสัญญา ต้องจัดให้มีป้ายพันธะสัญญาติดตั้งให้ผู้รับบริการ
ได้เห็นชัดเจนที่จุดห้อง One Stop Service
และมีประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ด์ของสถานีตำรวจ พ.ต.ท.ภูวดล ทองดี
สว.อก.
ควบคุมการปฏิบัติ
ร.ต.ต.ธีระชาติ ขัตติยะเจ้าหน้าที่พัสดุ
จัดทําป้าย
ป้าย No Gift Policy ต้องจัดให้มีป้าย No Gift Policy ติดไว้ที่จุดห้อง
One Stop Service ให้ผู้รับบริการเห็นชัดเจน
เพื่อแสดงเจตจํานงของหัวหน้าสถานีในการไม่
รับของขวัญของกํานัล พ.ต.ท.ภูวดล ทองดี
สว.อก.
ควบคุมการปฏิบัติ
ร.ต.ต.ธีระชาติ ขัตติยะเจ้าหน้าที่
พัสดุจัดทําป้าย
ภาพป้ายประชาสัมพันธ์ให้บริการ Download คู่มือการ
ให้บริการ – จัดให้มีป้ายประชาสัมพันธ์ให้ผู้มารับบริการ Download คู่มือการให้บริการ ติดที่จุดบริการ One Stop Service ให้ผู้รับบริการได้รับทราบ
– นำคู่มือประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ด์ของสถานีตำรวจ พ.ต.ท.ภูวดล ทองดี
สว.อก.
ควบคุมการปฏิบัติ
ร.ต.ต.ธีระชาติ ขัตติยะเจ้าหน้าที่
พัสดุจัดทําป้าย

ด้าน ประเด็นที่ต้องปรับปรุง/ยกระดับการพัฒนา ผู้รับผิดชอบ
ภาพการจัดสิ่งอํานวย
ความสะดวกการให้บริการแก่ผู้รับบริการ – บริเวณจุดบริการ ได้จัดให้มีจุดบริการน้ำดื่มสําหรับ
ผู้รับบริการ / มีที่นั่งพักรอติดต่อราชการ/ มี
บริการอินเตอร์เนต WIFI ฟรีสําหรับผู้รับบริการ
/จัดห้องน้ำชาย หญิงและผู้พิการที่สะอาด/ มีที่จอดรถ
สําหรับผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อราชการที่เพียงพอ เป็นต้น พ.ต.ท.สนอง กุญชร
รอง ผกก.สอบสวน ควบคุมการปฏิบัติ
ร.ต.ต.ธีระชาติ ขัตติยะเจ้าหน้าที่
พัสดุจัดทําป้าย
สิบเวรดูแลความสะอาด จุดบริการ

(๒) ยกระดับการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ (OIT) ตามแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
ด้าน ประเด็นที่ต้องปรับปรุง/ยกระดับการพัฒนา ผู้รับผิดชอบ
การจัดทํา OIT
O1 โครงสร้าง
อัตรากําลัง และข้อมูลผู้บริหาร – ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือการประเมิน ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
แสดง โครงสร้าง อัตรากําลัง ข้อมูลผู้บริหาร ที่มีข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อให้ผู้รับบริการทราบว่าแต่ละงาน ประกอบด้วยลักษณะงานใด โดยสอดคลองกับภารกิจของแต่ละงานตามการมอบหมายงานของสถานีตํารวจ พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
๑.จนท.จัดทําข้อมูล
-ร.ต.ต.กมล
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล
O2 อํานาจหน้าที่ และพื้นที่รับผิดชอบ ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
อํานาจหน้าที่
• ข้อมูลเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่หรือภารกิจของสถานีตํารวจและบทบาทภารกิจความรับผิดชอบของแต่ละงานภายในสถานีตํารวจ
พื้นที่รับผิดชอบ
• ข้อมูลพื้นที่รับผิดชอบ ได้แก่ เขต/ตําบล/จํานวน
ประชากร
• ระบุ/เดือน/ปี ที่จัดทําข้อมูล พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
๑.จนท.จัดทําข้อมูล
-ด.ต.เสกสรรค์
(อํานาจหน้าที่)
-ด.ต.เสกสรรค์
(พื้นที่รับผิดชอบ)
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล

ด้าน ประเด็นที่ต้องปรับปรุง/ยกระดับการพัฒนา ผู้รับผิดชอบ
O3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลกฎหมายที่มีการบังคับใช้ของสถานีตํารวจ โดยมีการจัดเป็นหมวดหมู่ ง่ายต่อการค้นหา
หมายเหตุ : กรณีมีกฎหมายที่บังคับใช้เป็นจํานวนมาก ควรมีกฎหมายที่ผู้รับบริการต้องรู้/ควรรู้เปิดเผยก่อน
• แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย
– แนวปฏิบัติในการจับหรือค้น
– มาตรการป้องกันการแทรกแทรงการใช้ดุลยพินิจ
– แนวปฏิบัติในการใช้ดุลพินิจไม่รับคําร้องทุกข์ใน
คดีอาญา
– แนวปฏิบัติในการสอบปากคําของพนักงาน
สอบสวน
-สิทธิของผู้เสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรมและสิทธิ
ผู้ต้องหา พ.ต.ท.สนอง
ผู้ควบคุม
๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– พ.ต.ท.สนอง
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล
O4 ข้อมูลคณะกรรมการ
ตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ
(กต.ตร.) ของสถานี
ตํารวจ -ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ
๒๕๖๗
ข้อมูลคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ (กต.ตร.) ของสถานีตํารวจ
• บทบาท อํานาจหน้าที่ คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ (กต.ตร.) ของสถานีตํารวจ
• รายชื่อ และภาพถ่ายประกอบ
• ภาคส่วนผู้รับบริการที่มาจากการคัดเลือกให้เปิดเผยประวัติ(โดยย่อ)
• แสดงผลการดําเนินงานของ กต.ตร. สถานีตํารวจ ที่ผ่านมาในรอบ ๖ เดือนแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ (ต.ค.66-มี.ค.67) พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
๑.จนท.จัดทําข้อมูล
-พ.ต.ท.ภูวดล
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล
O5 ข้อมูลการติดต่อและช่องทางการถาม-ตอบ/รับฟังความคิดเห็น มีข้อมูลการติดต่อและช่องทางการถาม-ตอบ/รับฟังความคิดเห็น
ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA
ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
ข้อมูลการติดต่อ
• ช่องทางติดต่อ อย่างน้อยประกอบด้วย
– ชื่อหน่วยงาน
– ที่อยู่
– หมายเลขโทรศัพท์
– ที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
– แผนที่ตั้งสถานีตํารวจ
หมายเหตุ : ๑) ทําการปรับปรุงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลทุกครั้ง
๒) ต้องมีครบทุกองค์ประกอบ ช่องทางการ ถาม-ตอบ/รับฟังความคิดเห็น ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
• แสดงตําแหน่งบนเว็บไซต์ของหน่วยงานที่บุคคลภายนอกสามารถสอบถามข้อมูลต่างๆ ได้และสามารถแสดงความคิดเห็น แนะนํา หรือติชม เกี่ยวกับการดําเนินงานหรือการให้บริการของสถานีตํารวจ พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
๑.จนท.จัดทําข้อมูล
-พ.ต.ท.ภูวดล
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล
O6 การประชาสัมพันธ์
ข้อมูลผลการดําเนินงาน ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
การประชาสัมพันธ์ข้อมูลผลการดําเนินงาน
• การประชาสัมพันธ์ข้อมูลผลการดําเนินงานของ
สถานีตํารวจประจําปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ โดย
เริ่มเผยแพร่ตั้งแต่ เดือนตุลาคม ๒๕๖๖
• มีช่องทางการเผยแพร่ผ่านหน้าเว็บไซต์หลักของ
สถานีตํารวจ และสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ Facebook หรือ Line เป็นต้น ที่สามารถเชื่อมโยง
ไปยังเว็บไซต์หลักของสถานีตํารวจได้
• มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการประเมินคุณธรรม
และความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตํารวจ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗
• มีข่าวสารการประชาสัมพันธ์ข้อมูลการตอบแบบ
วัด EIT ของหน่วยงานผ่าน Link หรือ QR Code
อย่างชัดเจน หัวหน้างานทุกสายงาน เป็นผู้ควบคุม
๑.จนท.จัดทําข้อมูลที่จะประชาสัมพันธ์
๑.๑ ด.ต.หญิง จารุรัตน์ งานสอบสวน
๑.๒ จ.ส.ต.สุธีทร งาน จร.
๑.๓ ร.ต.ต.กมล งาน อก.
๑.๔ ด.ต.สันติชัย งานสืบสวน
๑.๕ จ.ส.ต.เสกสรรค์
งาน ป.
๒.จนท.ลงเว็บไซต์ สภ./
ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ITA/ข่าวสารการตอบ EIT
– พ.ต.ท.ภูวดล
ดําเนินการเสร็จสิ้น ภายใน ๓๑ ม.ค.๖๗
O7 รายงานการปฏิบัติราชการประจําเดือน ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
รายงานผลการปฏิบัติราชการสถานีตํารวจ
ประจําเดือน
• รายงานผลการปฏิบัติราชการสถานีตํารวจ รอบ ๖
เดือนแรก ของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ (ต.ค.๖๖ –
มี.ค.๖๗)
• แยกรายเดือนและเผยแพร่เป็นประจําทุกเดือน
• รายงานผลฯลฯ อย่างน้อยประกอบด้วย การ
ปฏิบัติงานของสถานีตํารวจหรือโครงการ/กิจกรรม
รายละเอียด ระยะเวลาดําเนินการหน่วยงานที่
รับผิดชอบ พร้อมภาพกิจกรรม
• เปิดเผยทั้งในรูปแบบไฟล์ PDF และรูปแบบ Structured data ที่เครื่องสามารถอ่านได้ (Machine-readable) ได้แก่ ข้อมูลในรูปแบบไฟล์ Word เท่านั้น การรายงานข้อมูลการปฏิบัติราชการ
หัวหน้างานทุกสายงาน เป็นผู้ควบคุม
๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
งาน อก.
– ด.ต.เสกสรรค์
– ด.ต.เสกสรรค์
งานสืบสวน
– ด.ต.เสกสรรค์
งาน จร.
– ด.ต.เสกสรรค์
งาน ป.
– ด.ต.เสกสรรค์
งานสอบสวน
– ด.ต.เสกสรรค์
การจัดทําแผนปฏิบัติราชการ
พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
จนท.รับผิดชอบข้อมูล
-ด.ต.เสกสรรค์
(จัดทําแผน)
– พ.ต.ท.ภูวดล (ลงเว็บไซต์
สภ.)
รายงานผลภายในวันที่ ๒๘ ของทุกเดือน
O8 คู่มือการปฏิบัติงานสําหรับเจ้าหน้าที่ ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
คู่มือการปฏิบัติงานสําหรับเจ้าหน้าที่
• ข้อมูลเกี่ยวกับคู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ตามภารกิจของแต่ละสายงาน (งานอํานวยการ งาน
ป้องกันปราบปราม งานจราจร งานสืบสวน และงาน
สอบสวน) พร้อมรายละเอียด พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
จนท.จัดทําคู่มือ
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ งาน อก.
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ งาน ป.
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ งาน
สืบสวน
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ งาน
จร.
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ งาน
สอบสวน
พ.ต.ท.ภูวดล จนท.ลง
เว็บไซต์สภ.
ดําเนินการเสร็จสิ้น ภายใน ก.พ.๖๗
O9 คู่มือการให้บริการผู้รับบริการ ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
คู่มือการให้บริการผู้รับบริการ
• แสดงคู่มือฉบับผู้รับบริการในการขอรับบริการกับ
สถานีตํารวจ เป็นคู่มือที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ ชุมชน ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ซึ่งมีเนื้อหาประกอบด้วย ประเภท งานให้บริการ ขั้นตอนการให้บริการ แผนผัง/แผนภูมิ การให้บริการ ระยะเวลาที่ใช้ในการให้บริการ โดยแยกตามหมวดหมู่ของงานบริการแต่ละสายงาน (งานอํานวยการ งานป้องกันปราบปราม งานจราจร งานสืบสวน และงานสอบสวน) พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
๑.จนท.จัดทําข้อมูลคู่มือ
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ
อก.
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ งาน ป.
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ งาน
สืบสวน
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ งาน
จร.
พ.ต.ท.ภูวดล คู่มือ งาน
สอบสวน
๒.จนท.ลงเว็บไซต์ สภ.
พ.ต.ท.ภูวดล
O10 E–Service ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
E–Service
• แสดงระบบบริการผู้รับบริการผ่านอิเล็กทรอนิกส์
ออนไลน์ โดยเป็นการอํานวยความสะดวกให้แก่
ผู้รับบริการสําหรับบริการด้านต่างๆ ของสถานีตํารวจ ได้แก่
-ระบบแจ้งความ Online
-ระบบเสียค่าปรับ Online
-ระบบติดตามความคืบหน้าของคดี (Case Tracking)
• สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้
จากเว็บไซต์หลักของสถานีตํารวจ พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– จนท.งานคดี, ผช.พงส., เปรียบทียบปรับ, งานสอบสวน ทุกนาย
๒.จนท.ลงเว็บไซต์ สภ.
– พ.ต.ท.ภูวดล

ดําเนินการเสร็จสิ้นภายใน ๓๑ ม.ค.๖๗
O11 ข้อมูลผลการดําเนินงานในเชิงสถิติ ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
ข้อมูลผลการดําเนินงานในเชิงสถิติ
• ข้อมูลผลการดําเนินงานของสถานีตํารวจ ตาม
ภารกิจหลักในเชิงสถิติประจําปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๗ ซึ่งเป็นผลการดําเนินงานในรอบ ๖ เดือนแรก
ของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ (ต.ค.66-มี.ค.67)
• แยกเป็นรายเดือนและเผยแพร่ทุกเดือน
๑.ข้อมูลผลการดําเนินงานในเชิงสถิติด้านคดีตาม
ระบบ CRIMES
๒. ข้อมูลผลการดําเนินงานในเชิงสถิติ การตั้งจุด
ตรวจ จุดสกัด
• เปิดเผยทั้งในรูปแบบไฟล์ PDF และรูปแบบ Structured data ที่เครื่องสามารถอ่านได้ (Machine-readable) ได้แก่ ข้อมูลในรูปแบบไฟล์ Excel หรือไฟล์ Word พ.ต.ท.ณรงค์ฤทธิ์ ผู้ควบคุมด้านสถิติคดี
พ.ต.ท.พิเษฐ์ สวป.
ผู้ควบคุมด้านสถิติการตั้งจุดตรวจ
๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– ด.ต.หญิง จารุรัตน์ ด้านคดี
– จ.ส.ต.สุธีทร ด้านจุดตรวจ
รายงานผลทุกสิ้นเดือน
๒.จนท.ลงเว็บไซต์ สภ.
– พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกสิ้นเดือน
O12 แผนการใช้จ่าย
งบประมาณประจําปี
และรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจําปี ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
แผนการใช้จ่ายงบประมาณสถานีตํารวจประจําปี
• แผนการใช้จ่ายงบประมาณของสถานีตํารวจ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ จําแนกตามแหล่งที่ได้รับการจัดสรร/สนับสนุน รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจําปี
• รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ รอบ ๖ เดือนแรก หรือ ๒ ไตรมาส ของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ ( ตุลาคม ๒๕๖๖ – มีนาคม ๒๕๖๗ )
• มีการรายงานต่อหัวหน้าสถานีตํารวจ
• ข้อมูลการจัดทํารายงาน ได้แก่ ผลการใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตามเป้าหมายเมื่อเทียบกับแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ปัญหา อุปสรรค
• เปิดเผยทั้งในรูปแบบไฟล์ PDF และรูปแบบ Structured data ข้อมูลในรูปแบบไฟล์ Excel เท่านั้น พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– ด.ต.สง่า
รายงานผลทุกสิ้นเดือน

๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกสิ้นเดือน
O13 ข้อมูลเงินกองทุนเพื่อการสืบสวน สอบสวน
การป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดทางอาญา ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
• ข้อมูลกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสอบคดีอาญาที่สถานีตํารวจได้รับการจัดสรรและการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ ในรอบ ๖ เดือนแรก หรือ ๒ ไตรมาสของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗
• เปิดเผยทั้งในรูปแบบไฟล์ PDF และรูปแบบ Structured data ที่เครื่องสามารถอ่านได้ (Machine-readable) ได้แก่ข้อมูลในรูปแบบไฟล์ Excel และไฟล์Word
• ข้อมูลจัดทําตามตารางตัวอย่าง พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– ด.ต.สง่า
รายงานผลทุกสิ้นเดือน

๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกสิ้นเดือน
O14 ประกาศต่าง ๆ
เกี่ยวกับการจัดซื้อจัด
จ้าง ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
• ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของ
สถานีตํารวจประจําปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ ที่จะต้องดําเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ ได้แก่ ประกาศแผนการจัดซื้อจัดจ้าง ประกาศเชิญชวน
ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง
• ข้อมูลที่เผยแพร่ทุกรายการในรอบ ๖ เดือน
แรก ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ (กรณีไม่มี
ให้ระบุว่าไม่มีการจัดซื้อจัดจ้าง) พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– ร.ต.ต.ธีระชาติ
รายงานผลทุกสิ้นเดือน

๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
– พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกสิ้นเดือน
O15 สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างรายเดือน ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
• สรุปผลการดําเนินการจัดซื้อจัดจ้าง (สขร.๑)
ประจําเดือน โดยมีข้อมูลรายละเอียดผลการจัดซื้อจัดจ้าง ได้แก่ งานที่ซื้อหรือจ้าง วงเงินที่ซื้อหรือจ้าง ราคากลาง วิธีการซื้อหรือจ้าง รายชื่อผู้เสนอราคาและราคาที่เสนอ ผู้ได้รับการคัดเลือกและราคาที่ตกลง เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป เลขที่และวันที่ของสัญญา หรือข้อตกลงในการซื้อหรือจ้าง เป็นต้น
• สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง จําแนกข้อมูลเป็น ราย
เดือน เผยแพร่เป็นประจําทุกเดือน
• ข้อมูลที่เปิดเผย ๖ เดือนแรกของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗
• กรณีไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนใดให้ระบุว่า
ไม่มีการจัดซื้อจัดจ้าง
• เปิดเผยทั้งในรูปแบบไฟล์ PDF และรูปแบบ
Structured data ที่เครื่องสามารถอ่านได้ (Machine-readable) ได้แก่ข้อมูลในรูปแบบไฟล์ Excel หรือไฟล์ Word พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– ร.ต.ต.ธีระชาติ
รายงานผลทุกสิ้นเดือน

๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
– พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกสิ้นเดือน
O16 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนา
กําลังพล ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
• สถานีตํารวจมีการประกาศหลักเกณฑ์การบริหาร
กําลังพลและการพัฒนากําลังพล ซึ่งเป็นไปตามกฎ
ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
– หลักเกณฑ์การพัฒนากําลังพล
– หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน
– หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นเลื่อนเงินเดือน
หมายเหตุ : ใช้ข้อมูลกลางสํานักงานตํารวจแห่งชาติได้ พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– ร.ต.ต.กมล
ดําเนินการเสร็จสิ้นภายใน มี.ค.๖๗

๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
– พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกสิ้นเดือน
O17 ช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
และข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริต ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
• ช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของสถานีตํารวจ
• ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิ
ชอบของเจ้าหน้าที่ของสถานีตํารวจ
• มีข้อมูลความก้าวหน้าการจัดการเรื่องร้องเรียน
ได้แก่ จํานวนเรื่อง เรื่องที่ดําเนินการแล้วเสร็จเรื่องที่
อยู่ระหว่างดําเนินการ เป็นต้น (กรณีไม่มีเรื่องร้องเรียนให้ระบุไม่มีเรื่องร้องเรียน)
• เป็นข้อมูลในระยะเวลาอย่างน้อย ๖ เดือนแรกของ
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ ระบุข้อมูลในการจัดทํา ณ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๖๗ พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– ร.ต.ต.กมล
รายงานผลทุกสิ้นเดือน

๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
– พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกสิ้นเดือน
O18 ประกาศนโยบายต่อต้านการรับสินบน ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗

• ประกาศนโยบายการต่อต้านการรับสินบน (Anti-
Bribery Policy) โดยผู้บริหารสูงสุดของสถานีตํารวจคนปัจจุบัน และให้เผยแพร่ฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษควบคู่กับฉบับภาษาไทย
• เนื้อหาของนโยบาย ประกอบด้วย
– วัตถุประสงค์- ขอบเขตใช้บังคับกับใครบ้าง
– นิยามคําว่า สินบน หมายถึงอะไรบ้าง รวมถึงการรับของขวัญ ของกํานัล (Gift) ค่าอํานวยความสะดวก
เครื่องแสดงไมตรีจิต การรับบริจาค การรับเลี้ยง และประโยชน์ในลักษณะเดียวกัน เมื่อการเสนอ การให้ หรือการรับที่สามารถพิจารณาอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ ว่าคือสินบน และรวมถึงการให้หรือรับกันภายหลัง (การรับของขวัญจากการปฏิบัติหน้าที่ จะแตกต่างจากการรับโดยธรรมจรรยา ซึ่งหมายถึง การรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดอันอาจคํานวณเป็นเงินได้จากบุคคลที่ให้กันในโอกาสเทศกาล หรือวันสําคัญ ดั้งนั้น การรับของขวัญ ของกํานัล หรือสินน้ำใจ จากการปฏิบัติหน้าที่ อาจเป็นการรับสินบน นโยบายจึงต้องกําหนดให้ชัดเจน)
– การฝ่าฝืนนโยบายจะมีมาตรการจัดการอย่างไร
– มาตรการติดตามตรวจสอบ
– ช่องทางร้องเรียนแจ้งเบาะแส
– มาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน/ แจ้งเบาะแส การรักษาความลับ
– ระบุวัน เดือน ปี ที่
ประกาศหมายเหตุ: แนวทางการจัดทําสามารถปรับได้ตามความเหมาะสม
อินโฟกราฟฟิกนโยบายไม่รับของขวัญและของ
กํานัลทุกชนิด(No Gift Policy)จากการปฏิบัติ
หน้าที่
• แสดงอินโฟกราฟฟิกของหน่วย พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
-ด.ต.หญิง จารุรัตน์
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล

ดําเนินการเสร็จสิ้นภายใน ๓๑ มี.ค.๖๗
O19 การมีส่วนร่วมของหัวหน้าสถานีตํารวจ ดําเนินการจัดทําข้อมูล ตามคู่มือ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๖๗
การมีส่วนร่วมของหัวหน้าสถานีตํารวจ
• แสดงกิจกรรมการมีส่วนร่วมของหัวหน้าสถานีตํารวจคนปัจจุบันในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมการต่อต้านการทุจริต/สินบนในหน่วยงาน
• เป็นการดําเนินการของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗
• แสดงข่าวกิจกรรมของหัวหน้าสถานีตํารวจ อย่าง
น้อย ๓ ข่าว
หมายเหตุ : ขอให้หัวหน้าสถานีตํารวจคนปัจจุบัน มี
ส่วนร่วมในการชี้แจง เน้นย้ํา ให้ข้อมูล การประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ (Integrity&Transparency Assessment : ITA) ของสถานีตํารวจ ให้เจ้าหน้าที่ตํารวจในหน่วยงานได้รับรู้ รับทราบด้วย พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
-ด.ต.หญิง จารุรัตน์
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล
ดําเนินการเสร็จสิ้นภายใน ๓๑ มี.ค.๖๗
O20 การประเมินความเสี่ยงต่อการรับสินบน การประเมินความเสี่ยงต่อการรับสินบน
•แสดงการประเมินความเสี่ยงต่อการรับสินบน และ
แผนบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบน
ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗
• ทําการประเมินความเสี่ยงจากกระบวนงานในการใช้อํานาจและตําแหน่งหน้าที่ทุกสายงาน
• ทําการประเมินความเสี่ยงต่อการรับสินบน อย่าง
น้อยต้องมีข้อมูล ดังนี้
-ชื่อกระบวนงาน/งาน/โครงการ ของแต่ละสายงาน
– เกณฑ์ในการประเมินความเสี่ยงต่อการรับสินบน
– ระบุประเด็นความเสี่ยงต่อการรับสินบน (เหตุการณ์หรือรูปแบบ พฤติการณ์ต่อการรับสินบน)
– ระดับของความเสี่ยงต่อการรับสินบน
-แผนบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบน พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– พ.ต.ท.ภูวดล งาน อก.
– ร.ต.อ.นราวิชญ์ งาน ป.
– ร.ต.อ.สำเริง งาน สส.
– ร.ต.อ.มนตรี งาน ส.
– ร.ต.อ.นิติธร งาน จร.
ดําเนินการเสร็จสิ้นภายใน ๓๑ มี.ค.๖๗
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
– พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกวันที่ ๒๘ ของเดือน
O21 การรายงานผลการดําเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบน การรายงานผลการดําเนินการเพื่อจัดการรับ
สินบน
• เป็นกิจกรรมหรือการดําเนินการที่สอดคล้องกับมาตรการหรือการดําเนินการเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบนตามข้อ O๒๕ ประกอบด้วยข้อมูลดังนี้
(๑) ผลการดําเนินการตามมาตรการการจัดการ
ความเสี่ยงต่อการรับสินบน แยกตามสายงาน
(๒) แสดงภาพกิจกรรมการดําเนินการตาม
มาตรการจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบน พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
– พ.ต.ท.ภูวดล งาน อก.
– ร.ต.อ.นราวิชญ์ งาน ป.
– ร.ต.อ.สำเริง งาน สส.
– ร.ต.อ.มนตรี งาน ส.
– ร.ต.อ.นิติธร งาน จร.
ดําเนินการเสร็จสิ้นภายใน ๓๐ เม.ย.๖๗
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
– พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกวันที่ ๒๘ ของเดือน
O22 คู่มือหรือแนว
ทางการปฏิบัติตาม
มาตรฐานทางจริยธรรม คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐานทาง
จริยธรรม
• แสดงการจัดทําคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติตาม
มาตรฐานทางจริยธรรมของสถานีตํารวจ
• ทั้งนี้ ต้องไม่ต่ํากว่ามาตรฐานตามประมวลจริยธรรมของสํานักงานตํารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๔ (ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๔)
• การจัดทําคู่มือหรือแนวทางให้มีแนวปฏิบัติที่เข้าใจ
ง่าย ได้แก่แสดงตัวอย่างประกอบ หรือ พฤติกรรมที่
พึงประสงค์ (Do & Don’t) ตามบทบาทภารกิจของสถานีตํารวจ พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม

๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
-พ.ต.ท.ภูวดล
๒.จนท.เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล
ดําเนินการเสร็จสิ้นภายในเดือน มี.ค.๖๗
O23 การจัดการ
ทรัพย์สินของราชการ
การจัดเก็บของกลาง
และแนวทางการนําไปปฏิบัติ การจัดการทรัพย์สินของราชการและของบริจาค
• แสดงการวางระบบการดูแลจัดการทรัพย์สิน เพื่อ
ป้องกันการนําทรัพย์สินของราชการและของบริจาคไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน โดยมีอย่างน้อย ดังนี้
– จําแนกประเภททรัพย์สินของราชการ อาวุธ
ยุทธภัณฑ์ และของบริจาค
– กําหนดแนวทางควบคุม กํากับ ดูแลรักษา ตรวจนับ
ตรวจสอบสภาพการใช้งานทรัพย์สินของราชการและ
ของ บริจาค โดยเฉพาะทรัพย์ประเภทที่มีความเสี่ยง
ต่อการนําไปใช้โดยมิชอบ
– ตรวจสอบและตรวจนับอาวุธยุทธภัณฑ์ของสถานี
ตํารวจเพื่อให้มีความพร้อมต่อการใช้งานในภารกิจ
ประจําวัน
– กําหนดแนวทางการยืมหรือเบิกจ่ายทรัพย์สินของ
ราชการหรือของบริจาคไปใช้ปฏิบัติงาน ที่ชัดเจน
แนวทางการเผยแพร่หรือเสริมสร้างความรู้ ความ
เข้าใจให้เจ้าหน้าที่สามารถใช้ทรัพย์สินของราชการ
และของบริจาคได้อย่างถูกต้อง
การจัดเก็บของกลาง
• แสดงการวางระบบการจัดเก็บรักษา ของกลาง ที่ยึดอายัดเพื่อป้องกันไม่ให้ถูกสับเปลี่ยน หรือไม่นําเข้าระบบ หรือเข้าระบบบางส่วน เพื่อแลกกับการเรียกรับผลประโยชน์ทั้งทางคดีและรับทรัพย์สิน มีระบบควบคุมที่เพียงพอ และเหมาะสมตามประเภทของของกลางนั้น ๆ
รายงานผลการปฏิบัติ
• รายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สิน
ของทางราชการ ของบริจาค
การจัดเก็บของกลาง
• เป็นข้อมูลในระยะเวลาอย่างน้อย ๖ เดือนแรกของ
ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ ๑.พ.ต.ท.ภูวดล ควบคุมทรัพย์สินทางราชการและบริจาค
-.จนท.รับผิดชอบข้อมูลทรัพย์สินของราชการและของบริจาค
– ร.ต.ต.ธีระชาติ
(ดําเนินการเสร็จสิ้นภายใน ๓๑ มี.ค.๖๗ และรายงานผลทุกวันที่ ๒๘ ของเดือน)

๒.พ.ต.ท.สนอง ผู้ควบคุมรักษาของกลาง
-จนท.รับผิดชอบข้อมูลของกลาง
– ด.ต.หญิง จารุรัตน์
(ดําเนินการเสร็จสิ้นภายใน ๓๑ มี.ค.๖๗ และรายงานผลทุกวันที่ ๒๘ ของเดือน)

๓.จนท เผยแพร่ลงเว็บไซต์
-พ.ต.ท.ภูวดล
รายงานผลทุกสิ้นเดือน
O24 มาตรการการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน มาตรการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใส
ภายในหน่วยงาน
• การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของสถานีตํารวจ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ ได้แก่
– คําสั่งแต่งตั้งคณะทํางานขับเคลื่อน ITA ของ
สถานี
– ผกก./หน.สภ. ชี้แจงและให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
การประเมินแก่เจ้าหน้าที่ตํารวจในหน่วยงาน
• กําหนดแนวทางยกระดับและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน ๒ ด้าน ดังต่อไปนี้
(๑) การพัฒนายกระดับการให้บริการ/ One Stop Service เพื่ออํานวยความสะดวกผู้รับบริการที่มารับบริการโดยสถานีตํารวจดําเนินการปรับปรุงพัฒนาหน่วยงาน ดังต่อไปนี้
– จุดประชาสัมพันธ์/สอบถามความคืบหน้าการดําเนินคดี
– ป้ายประชาสัมพันธ์จุดบริการ – ป้ายพันธะสัญญา
– (หมายเหตุ : ป้ายมีความสมบูรณ์ไม่ชํารุดปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่สม่ําเสมอ)
– ป้าย No Gift Policy
– ป้ายประชําสัมพันธ์ Download คู่มือการให้บริการ
– การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก การให้บริการผู้รับบริการ
(๒) ยกระดับการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ (OIT)
ตาม แบบตรวจสอบการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
– การจัดทําเว็บไซต์/ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
– การจัดทําข้อมูลสาธารณะตามเกณฑ์การประเมินและ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่ําง ๆ
– การกํากับติดตามการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะอย่าง ต่อเนื่อง พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
-พ.ต.ท.ภูวดล
๒.จนท.ลงเว็บไซต์ สภ.
-พ.ต.ท.ภูวดล
ดําเนินการเสร็จสิ้นภายในเดือน มี.ค.๖๗
O25 การรายงานผลการดำเนินการตาม
มาตรการการกระดับ
คุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน การรายงานผลการดําเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและ ความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
• เป็นกิจกรรม หรือการดําเนินการที่สอดคล้องกับ
มาตรการ การยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใส
ภายในหน่วยงานตาม ข้อ O๒๔ ที่สถานีตํารวจได้
ดําเนินการปรับปรุง พัฒนาจุดบริการ อย่างน้อย
ประกอบด้วย
(๑) ผลการดําเนินการตามมาตรการการยกระดับ
คุณธรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงาน/One
Stop Service
(๒) ภาพกิจกรรมที่แสดงถึงการนํามาตรการไปปฏิบัติจริง/ การพัฒนาจุดบริการอย่างเป็นรูปธรรม
– ภาพ จุดประชาสัมพันธ์/สอบถาม ความคืบหน้า
การดําเนินคดี
– ภาพป้ายประชาสัมพันธ์จุดบริการ
– ภาพป้ายพันธะสัญญา
– (หมายเหตุ : ป้ายมีความสมบูรณ์ไม่ชํารุด ปรับปรุง
ข้อมูล ให้ทันสมัยอยู่สม่ำเสมอ)
– ภาพป้าย No Gift Policy
– ภาพป้ายประชําสัมพันธ์ Download คู่มือการให้ บริการ
– ภาพการจัดสิ่งอํานวยความสะดวก การให้บริการ
ผู้รับบริการ
– ภาพกิจกรรม หรือรายงานการประชุม การมอบหมาย เจ้าภาพ/ผู้รับผิดชอบการยกระดับการ
เผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ (OIT)
– ภาพการประชุมกํากับติดตามโดยหัวหน้าสถานี
ตํารวจ พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ควบคุม
๑.จนท.รับผิดชอบข้อมูล
-พ.ต.ท.ภูวดล
๒.จนท.ลงเว็บไซต์ สภ.
-พ.ต.ท.ภูวดล
ดําเนินการเสร็จสิ้นภายในเดือน มี.ค.๖๗

ด้าน ประเด็นที่ต้องปรับปรุง/ยกระดับการพัฒนา ผู้รับผิดชอบ
– การปรับปรุง และจัดทำเว็บไซต์
เว็บไซต์ของสถานี มีการจัดทำและบริหารเว็บไซต์หลักของสถานี พ.ต.ท.ภูวดล สว.อก.
ปรับปรุงข้อมูลและพัฒนาเว็บไซต์ เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลเว็บไซต์ของสถานี (ammin) มีความรู้ในการพัฒนา และลงข้อมูลสาธารณะให้เป็นปัจจุบัน เปิดเผยให้แก่ประชาชนทราบข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ พ.ต.ท.ภูวดล สว.อก.
ควบคุมการปฏิบัติ
พ.ต.ท.ภูวดล สว.อก.
เจ้าหน้าที่เทคโนโลยีฯ ของสถานี

ด้าน ประเด็นที่ต้องปรับปรุง/ยกระดับการพัฒนา ผู้รับผิดชอบ
การกำกับติดตาม การเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ
การออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานในการประเมิน ITA และการมอบหมายหน้าที่
– การออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานในการประเมิน ITA ของสถานี เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินการให้เป็นรูปธรรม
– มีการมอบหมายให้เจ้าหน้าที่่รับผิดชอบการจัดทำข้อมูลสาธารณะ และการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะอย่างชัดเจน โดยให้มีผู้บังคับบัญชาควบคุม กำชับ กำกับ ติดตาม การเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะของเจ้าหน้าที่ให้เป็นปัจจุบัน – การออกคำสั่งแต่งตั้งฯ ให้ งานอำนวยการ เป็นผู้รับผิดชอบ
– การจัดทำข้อมูลสาธารณะแต่ละด้าน ให้ หัวหน้าแต่ละสายงานเป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติ

การประชุมขับเคลื่อนและการกำกับติดตามการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ – มีการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้รับผิดชอบข้อมูลสาธารณะในแต่ละด้าน
– สร้างความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้รับผิดชอบ และเจ้าหน้าที่บริหารเว็บไซต์ของสถานี ผกก.สภ.หนองไผ่
และ คณะทำงานขับเคลื่อนการประเมิน ITA ของสถานีตำรวจ

มาตรการ/กิจกรรม ในการเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA)ของสถานีตํารวจภูธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.256๗ และ กําหนดแนวทางยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงานของสถานีตำรวจภูธรหนองไผ่
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
๑) การปฏิบัติหน้าที่ การพัฒนายกระดับการ ให้บริการ
– จุดประชาสัมพันธ์/ สอบถามความคืบหน้าการดำเนินคดี
– ป้ายประชาสัมพันธ์จุดบริการต่าง ๆ – การจัดให้มีผู้ทำหน้าที่ ประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้มารับบริการบนสถานีตำรวจ เพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติ ขั้นตอนการติดต่อราชการ แก่ ผู้มารับบริการ หรือผู้มาติดต่อ ราชการ
– เจ้าหน้าที่ต้องให้บริการด้วยจิตใจการให้บริการ Service mind มีความ เป็นมิตร ใช้กิริยาวาจาและกิริยาสุภาพ ให้เกียรติ อดทน อดกลั้น
– มีป้ายแสดงจุดให้บริการในแต่ละด้าน

– มีข้าราชการตำรวจ ปฏิบัติหน้าที่ประชาสัมพันธ์
– เจ้าหน้าที่ตำรวจให้บริการด้วย Service mind
– มีป้ายประชาสัมพันธ์แสดงจุดบริการ – มีตารางรายชื่อผู้ปฏิบัติงานและหมายเลขโทรติดต่อได้
– มีป้ายแสดงรายชื่อผู้ปฏิบัติหน้าที่ ทุกวัน – พ.ต.ท.สนอง
รอง ผกก.(สอบสวน) ผู้ควบคุมการปฏิบัติ

-พ.ต.ท.วัตร
รอง ผกก.ป.ควบคุมการจัดรายชื่อของ สภ.
สว.อก.ฯ ควบคุมการจัดทำป้ายและอุปกรณ์สนับสนุน
– สิบเวรทุกนาย ผู้ปฏิบัติ
ทุก ๑ เดือน
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
จุดบริการห้อง One Stop Service -นำขั้นตอนการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน หรือพันธะสัญญา และการแปลงนำไปสู่การปฏิบัติของแต่ละสายงาน
– งานอำนวยการ
– งานสอบสวน
– งานจราจร
– งานป้องกันปราบปราม
– งานสืบสวน -ติดป้ายพันธะสัญญาของสถานีตำรวจในจุดบริการห้อง One Stop Service
-นำป้ายพันธะสัญญาติดประกาศในจุดบริการ One Stop Service
-จัดทำพันธะสัญญาประกาศสื่อสารผ่าน website หลักของสถานีตำรวจ 3๑ มี.ค.6๗ -งานอำนวยการจัดทำแผ่นป้าย และเผยแพร่ทาง Website
-สว.อก.ฯ ผู้ควบคุมการปฏิบัติ
-งานสอบสวน ผู้ปฏิบัติ
– รอง ผกก.(สอบสวน) ควบคุม ภายในวันที่ ๓๑ มี.ค.๖๗
-มีจุดเผยแพร่คู่่มือการติดต่อราชการของประชาชน ขั้นตอน การให้บริการทั้ง ๕ สายงาน
-ให้บริการและเผยแพร่ผ่าน e service -ประชาสัมพันธ์ คู่มือการติดต่อราชการของประชาชน checklist และ ขั้นตอนการให้บริการ ทั้ง ๕ สายงาน ในบริเวณจุดบริการ One Stop Service
– มีการติดตั้งระบบการให้บริการผ่าน e -service -ติดป้ายประชาสัมพันธ์ หรือระบบ Download คู่มือการติดต่อราชการของประชาชน ขั้นตอนการให้บริการ๕ สายงาน
– มีการติดตั้งภาพinfographicในจุดให้บริการทั้ง ๕ สายงาน
– ติดตั้งโปรแกรมการให้บริการผ่าน e -service บนWebsite หลักของสถานี – สื่อสารโดยป้าย ประชาสัมพันธ์ และ ภาพ Infographic ณ จุดบริการ One Stop Service ๕ สายงาน
– นำคู่มือการให้บริการประชาชน และระบบบริการ e -service ลง Website สถานี 3๑ มี.ค.6๗ – งานอำนวยการ
สว.อก. ผู้ควบคุม
ร.ต.ต.ธีระชาติ จนท.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์
พ.ต.ท.ภูวดล จนท.เผยแพร่บน Website ทุก ๑ เดือน
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
-มาตรการควบคุมการตรงต่อเวลาในการมาปฏิบัติหน้าที่ -การจัดตารางการปฏิบัติงานที่กำหนดให้ต้องมาพร้อมก่อนเวลาปฏิบัติ ๑๕ นาที ไว้ที่ห้อง One Stop Service
– ตารางการปฏิบัติงานของแต่ละสายงาน ที่มีการระบุให้มาก่อนเวลาปฏิบัติ ๑๕ นาที และมีหมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ ณ จุดบริการประชาสัมพันธ์ ห้อง One Stop Service
– ติดตั้งตารางการปฏิบัติงานแต่ละสายงานที่ห้องธุรการของแต่ละสายงาน และห้องวิทยุ -ประกาศตารางการปฏิบัติงานของแต่ละสายงานผ่าน ไลน์กลุ่ม
-ชี้แจงกำชับการมาปฏิบัติงานตรงต่อเวลา ๑ มี.ค.6๗ -สิบเวร ทุกนาย ของทุกสายงาน
– ธุรการแต่ละสายงานจัดทำตารางการปฏิบัติงาน
– หัวหน้าแต่ละสายงาน ผู้ควบคุม ทุก ๑ เดือน
เผยแพร่มาตรการป้องกันการรับสินบนและ นโยบาย No Gift Policy -จัดทำInfographic ประกาศตามนโยบาย No Gift Policy
– เผยแพร่มาตรการ ป้องกันการรับสินบนและ No Gift Policy ติดจุดบริการ และประกาศทางเว็บไซต์ของสถานี – ติดตั้ง Infographic ณ จุดบริการผู้รับบริการ One Stop Service และห้องธุรการของทุกสายงาน
– เจ้าหน้าที่ตำรวจรับรู้ถึงมาตรการป้องกันการรับสินบน และนโยบาย No Gift Policy – เผยแพร่และติดตั้ง Infographic ประกาศตามนโยบาย No Gift Policy ณ จุดบริการทุกสายงาน
-อบรมชี้แจงเจ้าหน้าที่ตำรวจได้รับรู้ถึงมาตรการป้องกันการรับสินบน และนโยบาย No Gift Policy ๑ มี.ค.6๗ -งานอำนวยการ สว.อก.ฯ ผู้ควบคุม
-ร.ต.ต.ธีระชาติ จัดทำป้ายและประกาศ ทุก ๑ เดือน
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
นำมาตรการป้องกันความเสี่ยงการทุจริตของแต่ละสายงานไปแปลงสู่การปฏิบัติ – ดำเนินการวิเคราะห์ประเมินความเสี่ยงการทุจริตของแต่ละสายงาน
-กำหดนมาตรการป้องกันความเสี่ยงการทุจริตของแต่ละสายงาน โดยจัดอบรมและทำการ ประชุมร่วมกัน
-ดำเนินการตามกิจกรรมการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันความเสี่ยงการทุจริตของแต่ละสายงาน -แผนการบริการความเสี่ยงและประเมินความเสี่ยงการทุจริตของแต่ละสายงาน
-รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการความเสี่ยงการทุจริตของแต่ละสายงาน โดยให้ ผู้กำกับการ หรือหัวหน้าแต่ละสายงานควบคุมการปฏิบัติ
-รวบรวมรายงานการปฏิบัติตามแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริตของแต่ละสายงาน -อบรมชี้แจงสร้างการรับรู้ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้ทราบถึงมาตรการป้องกันความเสี่ยงการทุจริต
-สร้างการรับรู้ในแต่ละสายงานอย่างต่อเนื่อง
-ผู้บังคับบัญชาแต่ละสายงานควบคุมกำกับดูแลจุดเสี่ยง ๑๕ มี.ค.6๗ -ผู้กำกับการ
-หัวหน้างานทุกสายงาน เป็นผู้ควบคุม
-เจ้าหน้าที่ธุรการแต่ละสายงาน รายงานผล ทุก ๑ เดือน
การเปิดเผยข้อมูลการปฏิบัติงานในหน้าที่แต่ละสายงาน วางระบบขั้นตอนการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน พันธะสัญญา และแปลงลงสู่การปฏิบัติในทุกสายงาน -คู่มือปฏิบัติงานแต่ละสายงาน และพันธะสัญญา
-ภาพการปฏิบัติงานของแต่ละสายงานในการให้บริการประชาชน -นำข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงาน และพันธะสัญญาลงเผยแพร่ทางเว็บไซด์สถานี
-ลงเว็บไซด์ และสื่อออนไลน์ ๒๘ ก.พ.๖๗ สว.อก.ฯ เป็นผู้ควบคุม
พ.ต.ท.ภูวดล เผยแพร่ข้อมูล
ธุรการทุกสายงาน จัดทำขั้นตอนการปฏิบัติ และการบริการประชาชน ๓๑ มี.ค.๖๗
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
๒) การใช้งบประมาณ – มีการเผยแพร่ข้อมูลงบประมาณของสถานีตำรวจ -จัดทำข้อมูลการใช้งบประมาณของสถานีตำรวจ – ตารางการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๖๗ ของสถานี
-แจ้งการใช้จ่ายงบประมาณในการประชุมบริหารสถานี -เผยแพร่ข้อมูลการใช้จ่ายงบประมาณของสถานีตำรวจ ผ่านเว็บไซต์หลักของสถานี
-มีการชี้แจงให้ข้าราชการตำรวจได้รับทราบทุกการประชุมบริหาร ๓๑ มี.ค. 6๗ สว.อก.ฯ เป็นผู้ควบคุม
ด.ต.สง่า เจ้าหน้าที่การเงิน จัดทำ ข้อมูล ทุก ๑ เดือน
-มีการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ -สร้างการรับรู้ให้ข้าราชการตำรวจได้ทราบถึงการใช้งบประมาณด้านต่าง ๆ อย่างถูกต้อง -อบรมชี้แจงให้ข้าราชการตำรวจทราบถึงการใช้งบประมาณที่ถูกต้อง -อบรมชี้แจงในการประชุม ๓๑ มี.ค.๖๗ ผู้กำกับการ
สว.อก. จัดทำข้อมูล ทุก ๑ เดือน
๓)การใช้อำนาจ การส่งเสริมคุณธรรมในการบริหารงานบุคคล ผู้กำกับการ/หัวหน้าสถานื มีการสื่อสารแนวทางการบริหารกำลังพล ด้านการมอบหมายงาน การเลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อนตำแหน่ง พิจารณาความดีความชอบ การลงโทษ ฯลฯ – แนวทางการบริหารกำลังพลผ่าน เว็บไซด์ของสถานี
– การอบรมชี้แจงและสร้างการรับรู้ของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการพิจารณาบริหารกำลังพล มอบหมายงาน เลื่อนขั้น เลื่อนเงินเดือน พิจารณาความดีความชอบ การลงโทษ -สร้างช่องทางการใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรมแจ้ง พ.ต.อ.ฐานุพงศ์ผกก.สภ.หนองไผ่ผ่าน website ของ สถานี, line group ต่าง ๆ ของหน่วย
-เผยแพร่แนวทางการบริหารกำลังพลผ่านเว็บไซต์ ๓๑ มี.ค.6๗ สว.อกฯ ผู้ควบคุม
ร.ต.ต.กมล จัดทำ ทุก ๑ เดือน
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
๔) การใช้ทรัพย์สินของ ราชการ การจัดการทรัพย์สินของ ราชการ/ของบริจาค และการจัดเก็บของกลาง และสำนวนการสอบสวนคดีอาญาและคดีจราจร -จัดทำมาตรการการจัดการทรัพย์สินของราชการ ของบริจาค และการจัดเก็บ ของกลาง และสำนวนการสอบสวนคดีอาญาและคดีจราจร และแนวทางการปฏิบัติ -มีการจัดทำคำสั่งประกาศ และมาตรการจัดการทรัพย์สินของทางราชการ ของบริจาค
-มีการจัดทำมาตรการแนวทางการปฏิบัติการจัดการและการจัดเก็บของกลาง และสำนวนการสอบสวนคดีอาญาและคดีจราจร
-เผยแพร่ทาง website ของสถานี -อบรมชี้แจงข้าราชการได้ทราบแนวทางการปฏิบัติในทุกสายงาน
-เผยแพร่ website ของ สถานี ๓๑ มี.ค.6๗ -ทรัพย์สินทางราชการและของบริจาค
สว.อก.ฯ ผู้ควบคุม ร.ต.ต.ธีระชาติ จนท พัสดุ จัดทำ ประกาศ
-ของกลาง
พ.ต.ท.สนอง ควบคุม
ด.ต.หญิง จารุรัตน์ธร.คดี ทุก ๑ เดือน
มาตรการยืมสิ่งของที่เป็นทรัพย์สินของทางราชการ สื่อสาร วิธีการยืม- คืน
-วิธีการใช้ทรัพย์สินทางราชการอย่างถูกต้อง โดยจัดทำประกาศ ลงขั้นตอน
-จัดทำบัญชีคุมการเบิกจ่ายทรัพย์สินของทางราชการ -มาตรการยืมสิ่งของที่เป็นทรัพย์สินของทางราชการ
-บัญชีคุมการเบิกจ่ายทรัพย์สินของทางราชการ
– ลงประกาศทาง website ของสถานี -ชี้แจงการปฏิบัติให้ข้าราชการตำรวจทราบ
-อบรมเจ้าหน้าที่พัสดุในมาตรการ
-ทาง website ของสถานี ๓๑ มี.ค.6๗ สว.อก.ฯ ผู้ควบคุม
ร.ต.ต.ธีระชาติ จนท.พัสดุ จัดทำ ทุก ๑ เดือน
๕) การแก้ไขปัญหาการ ทุจริต การป้องกันการทุจริต 1.จัดอบรมมาตรการป้องกันและต่อต้านการรับสินบน
2.อบรมการต่อต้านการ ทุจริต
3.อบรมเสริมสร้างคุณธรรม และจริยธรรมของข้าราชการตำรวจในสังกัด -มีข่าวกิจกรรมการอบรมชี้แจงการต่อต้านการรับสินบน การทุจริต
-มีการอบรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมการเป็นข้าราชการตำรวจที่ดีตามประมวลจริยธรรมฯ
-ลงเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทางสื่อ ออนไลน์ และลงเว็บไซด์ของสถานี -อบรมชี้แจงมาตรการป้องกันและต่อต้านการรับสินบน และการเสริมสร้างคุณธรนรมและจริยธรรมฯ ให้ข้าราชการตำรวจได้รับทราบและลง ลายมือชื่อผู้เข้า รับการอบรม
-เผยแพร่ทางเว็บไซด์ของสถานี ๓๑ มี.ค.6๗ -ผกก.สภ.หนองไผ่ เป็นวิทยากร
-ข้าราชการตำรวจทุกนายเข้าร่วมการอบรม ทุก 1 เดือน
เผยแพร่แผนบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบนของสถานีตำรวจ -จัดทำการประเมินความเสี่ยงและแผนบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบน
-มาตรการควบคุมเพื่อป้องกันการทุจริตของแต่ละสายงาน -มีแผนบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบนของสถานีตำรวจ
– การควบคุม กำกับติดตาม ของผู้บังคับบัญชาแต่ละสายงานเพื่อป้องกันการทุจริตตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบน -อบรมชี้แจงเจ้าหน้าที่ตำรวจให้รับรู้และเข้าใจแนวทางตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการรับสินบน
– มีการเผยแพร่กิจกรรมทาง website ของสถานี
๓๑ มี.ค.6๗ -ผู้กำกับการ
-หัวหน้าสายงานแต่ละสายงาน และคณะทำงานฯ จัดทำแผนฯ และการปฏิบัติตามแผน
-สว.อก.ฯ ผู้ควบคุม
ทุก ๑ เดือน
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
๖) คุณภาพการ ดำเนินงาน เพิ่มช่องทางการเผยแพร่คู่มือการให้บริการประชาชน -จัดทำคู่มือการให้บริการ
-ประกาศให้ผู้รับบริการได้รับทราบ – ผลิตคู่มือแต่ละสายงานเพื่อรองรับการบริการประชาชน
– เพิ่มช่องทางข่าวสารของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ที่ผู้รับบริการควรทราบ – มีการประชาสัมพันธ์ทาง website ของสถานี ๓๑ มี.ค.6๗ สว.อก.ฯ ผู้ควบคุม พ.ต.ท.ภูวดล จัดทำคู่มือ ทุก ๑ เดือน
เพิ่มช่องทางการเผยแพร่คู่มือการให้บริการประชาชนแบบ Infographic -จัดทำ Infographic คู่มือการให้บริการประชาชนที่สามารถ ดาวโหลดคู่มือได้ เป็นระบบ QR-code สแกนให้ ดาวโหลดข้อมูล -ติดตั้งที่จุดบริการ ดาวโหลดคู่มือได้ เป็นระบบ QR-code ที่ห้อง One stop service
– เผยแพร่ทาง website ของ สถานี ๓๑ มี.ค.6๗ สว.อก.ฯ ผู้ควบคุม พ.ต.ท.ภูวดล จัดทำคู่มือ ทุก ๑ เดือน
อบรมปลูกฝังให้ข้าราชการตำรวจไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้มา ติดต่อราชการ -จัดการประชุมอบรมชี้แจง เพื่อสร้างจิตสำนึกในการให้บริการ – อบรมปลูกฝังจิตสำนึกข้าราชการตำรวจในการประชุมบริหาร หรือประชุมแต่ละสายงาน – ประชุมบริหาร หรือประชุมแต่ละสายงาน
-เผยแพร่ทาง website ของ สถานี

๓๑ มี.ค.6๗ สว.อก.ฯผู้ควบคุม
ร.ต.ต.ธีระชาติ จัดทำป้าย ทุก ๑ เดือน
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
เพิ่มช่องทางการให้บริการและรับฟังความคิดเห็น -ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผู้มารับบริการ ติดต่อราชการ หรือผู้้มีส่วนได้ส่วนเสียให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและถูกต้อง
-เพิ่มช่องทางการรับฟังความคิดเห็นบนเว็บไซด์ -นำข้อมูลสาธารณะเปิดเผยเข้าถึงได้ง่าย
-ทำป้าย Infographic ระบบ QR-code ร่วมตอบแบบประเมินความพึงพอใจ
-ช่องทางรับฟังความคิดเห็นบนเว็บไซด์ -เผยแพร่ข้อมูลสาธารณะทาง website ของ สถานี
-เจ้าหน้าที่ประจำ จุดให้บริการชี้แจงการประเมินแก่ผู้รับบริการ ๓๑ มี.ค.6๗ สว.อก.ฯ ผู้ควบคุม
ร.ต.ต.ธีระชาติ จัดทำป้าย ทุก ๑ เดือน
เพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวกการให้บริการ การจัดสิ่งอำนวยความ สะดวก การให้บริการ ผู้รับบริการ -มีป้ายบอกจุดบริการอย่างชัดเจน
-จัดที่พักสำหรับผู้รับบริการ บริการน้ำดื่ม ที่จอดรถ และห้องน้ำ สะอาด -มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกทางกายภาพ
-เผยแพร่ทาง website ของ สถานี ๓๑ มี.ค.6๗ สว.อก.ฯผู้ควบคุม
ร.ต.ต.ธีระชาติ จัดทำป้าย ทุก ๑ เดือน
๗)ประสิทธิภาพ ในการสื่อสาร เพิ่มการประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์การให้บริการที่ประทับใจ ทันสมัย ความโปร่งใส เป็นธรรม -เผยแพร่กิจกรรมการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์สถานี
-เพิ่มข่าวสารภาพลักษณ์ที่ ทันสมัย /การปรับปรุง กระบวนงานผ่านระบบ e- service -ผลิตกิจกรรมแต่ละสายงาน จำนวน ๕ ข่าวต่อเดือน
-เผยแพร่ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ให้ผู้รับบริการได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง -เผยแพร่ ทาง website ของสถานี
-เผยแพร่ทางสังคมออนไลน์ของสถานี
๓๑ มี.ค.6๗ สว.อก.ฯ ผู้ควบคุม
พ.ต.ท.ภูวดล จัดทำ ทุก ๑ เดือน
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
เพิ่มช่องทางร้องเรียนการทุจริตและช่อง ทางการรับฟังความคิดเห็น เพิ่มช่องทาง ถาม-ตอบ
– ช่องทางแจ้งเรื่อง ร้องเรียนการทุจริต
-ช่องทาง การถาม-ตอบเป็น Messenger Live chat ผ่านเว็บไซด์
-ช่องทางการร้องเรียนการทุจริต ผ่านเว็บไซด์ – เผยแพร่ ทาง website ของสถานี ๓๑ มี.ค.6๗ สว.อก.ฯผู้ควบคุม พ.ต.ท.ภูวดล จัดทำประกาศ
ร.ต.ต.ธีระชาติ จัดทำป้าย ทุก ๑ เดือน
เพิ่มประสิทธิภาพการถาม-ตอบผ่านช่องทางการับฟังความคิดเห็นของประชาชน -ออกคำสั่งมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ดูแลสื่อสังคมออนไลน์ คำสั่งมอบหมายเจ้าหน้าที่ดูแลสื่อสังคมออนไลน์ การปฏิบัติ ถาม-ตอบ ทางเว็บไซด์ของสถานี ๓๑ มี.ค.๖๗ สว.อก.ฯผู้ควบคุม พ.ต.ท.ภูวดล จัดทำ ทุก ๑ เดือน
ยกระดับการเผยแพร่ ข้อมูลสาธารณะ (OIT) การจัดทำเว็บไซต์/ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบัน / เว็บไซต์ ของหน่วย
..สภ.หนองไผ่.. และ เผยแพร่ ทาง website ของสถานี แจ้งทาง เฟสบุค และ ไลน์กลุ่ม ต่าง ๆ

๓๐ มี.ค.6๗ สว.อก.ฯผู้ควบคุม พ.ต.ท.ภูวดล ดูแล ระบบข้อมูลสารสนเทศของ หน่วย ทุก ๑ เดือน
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
การจัดทำข้อมูล สาธารณะตามเกณฑ์การ ประเมินและข้อมูลที่ เกี่ยวข้องต่าง ๆ จัดทำข้อมูลตามคู่มือ การประเมิน ITA ของ สถานีตำรวจประจำปี งบประมาณ 2567 เผยแพร่ทาง website ของ สถานี ตามปฏิทิน กิจกรรม การ ประเมินของ ป.ป.ช. สว.อก.ฯผู้ควบคุม เจ้าหน้าที่ตามคำสั่ง คณะทำงานขัยเคลื่อน และกำกับติดตามการ ประเมิน ITA ของ สภ. ทุก ๑ เดือน
การกำกับติดตามการ เผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ อย่างต่อเนื่อง จัดทำข้อมูลตามคู่มือ การประเมิน ITA ของ สถานีตำรวจประจำปี งบประมาณ 2567 เผยแพร่ทาง website ของ สถานี ตามปฏิทิน กิจกรรมการ ประเมินฯ ของ ป.ป.ช. -สว.อก.ฯ ผู้ควบคุม
-เจ้าหน้าที่ตามคำสั่ง คณะทำงานขับเคลื่อนและกำกับติดตามการประเมิน ITA ของ สภ. ทุก ๑ เดือน
๘) การปรับปรุงระบบการทำงาน พัฒนาระบบการให้บริการ on line (บูรณาการแผนการ พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศของหน่วยงาน) ระบบการให้บริการ E-SERVICE -ระบบแจ้งความออนไลน์
-ระบบการแจ้งความ คืบหน้าคดี
-ระบบใบสั่งจราจร
-อื่นๆ

-เผยแพร่ ทำป้ายติด ณ จุด ONE STOP SERVICE
-เผยแพร่ทาง website ของ สถานี ๓๑ มี.ค.๖๗ หัวหน้างานทุกสายงาน เป็นผู้ควบคุม ทุก ๑ เดือน
ตัวชี้วัด ประเด็นที่ต้องเตรียมความพร้อม/ยกระดับ กิจกรรมที่จะดำเนินการ ผลผลิต วิธีการสร้างการรับรู้ ระยะเวลาแล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลากำกับติดตาม
๙) การเปิดเผยข้อมูล ข้อมูล OIT ที่หน่วยจัดทำ O๑- O๒๕ ดำเนินการตามคู่่มือ การประเมิน ITA ของสถานีตำรวจ ประจำปีงบประมาณ 2567 (ตามรายละเอียดแนบท้าย มาตรการนี้ ) เปิดเผยข้อมูลสาธารณะ ครบทุกกิจกรรม เผยแพร่ทาง website ของ สถานี ตามปฏิทิน กิจกรรม ITA ประจำปี งบประมาณ 2567 ตามคำสั่ง สภ.หนองไผ่ ที่ ๔๗๘/๒๕๖๖ ลง ๒๙ ธ.ค. ๒๕๖๖ เรื่องแต่งตั้ง คณะทำงาน ITA ทุก ๑ เดือน
๑๐) การป้องกันการทุจริต ลดโอกาสและมีมาตรการป้องกันการทุจริต จัดทำข้อมูลการป้องกันการทุจริต -จัดทำประกาศ ต่อต้าน การรับสินบน
-จัดอบรมประชุมชี้แจง ข้าราชการในสังกัด
-มีแผนการดำเนินการ – มี Infographic ตามนโยบาย NO GIFT POLICY
– เผยแพร่ในเว็บไซต์สถานี และจุดบริการประชาชน ๓๑ มี.ค.๖๗ -หัวหน้างานทุกสายงาน เป็นผู้ควบคุม
-สว.อก.จัดทำประกาศ และ Infographic ทุก ๑ เดือน
การจัดเตรียมข้อมูลหรือแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการตำรวจ -จัดทำข้อมูลหรือแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการตำรวจ
-เผยแพร่คู่มือฯ -ข้อมูลหรือแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการตำรวจ
-เผยแพร่ทางเว็บไซด์ -เผยแพร่ลงเว็บไซดฺของสถานี ๓๑ มี.ค.๖๗ -สว.อก.ฯ เป็นผู้ควบคุม ๓๑ มี.ค.๖๗
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการสร้างคุณธรรมและความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน -จัดอบรมชี้แจงการสร้างคุณธรรมและความโปร่งใสให้ข้าราชการตำรวจ
-มีการจัดกิจกรรมการสร้างคุณธรรมและความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน -ผู้บังคับบัญชีอบรมชี้แจงข้าราชการตำรวจทุกสายงาน
-กิจกรรมการสร้างคุณธรรมและความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน -อบรมชี้แจงในการประชุม ๓๑ มี.ค.๖๗ -ผู้กำกับการ
-หัวหน้าสายงานทุกสายงาน ทุก ๑ เดือน
การปฏิบัติตามมาตรการในแผนบริหารจัดการความเสี่ยงการรับสินบนของสถานี -การควบคุมติดตามของผู้บังคับบัญชาแต่ละสายงาน -ผู้บังคับบัญชาแต่ละสายงานลงกำกับติดตามในประเด็นที่วิเคราะห์ความเสี่ยงตามแผนฯ -การชี้แจงการประชุม
-การลงปฏิบัติของผู้บังคับบัญชา ๓๑ มี.ค.๖๗ -ผู้กำกับการ
-หัวหน้าสายงานทุกสายงาน ทุก ๑ เดือน

ปฏิทินการการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
ของสถานีตำรวจภูธรหนองไผ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗

ลำดับที่ ช่วงระยะเวลา ขั้นตอน การดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ
ช่วงเตรียมการประเมิน
๑ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ ถึง ๓๑ ธันวาคม ๖๕๖๖ เตรียมความพร้อม หน่วยงานทำความเช้าใจแนวทางการประเมิน แต่งตั้งคณะทำงาน กำหนดแนวทางการเตรียม ความพร้อมรับการประเมิน การกำกับติดตาม พร้อมกำหนดผู้รับผิดขอบที่ชัดเจน ประธาน, รองประธาน และ คณะทำงาน
ช่วงดำเนินการประเมิน
๑ ๑ มกราคม ๖๕๖๗ ถึง ๓๑ มกราคม ๒๕๖๗ การลงทะเบียน และ การบันทึก ข้อมูลพื้นฐาน การบันทึกข้อมูลพื้นฐาน มีขั้นตอนดังนี้
๑) ผู้ดูแลระบบดำเนินการลงทะเบียนเข้าสู่ระบบ และบันทึกข้อมูลพื้นฐานของหน่วย ตลอดจนติดต่อ ของผู้ประสานงาน และผู้บริหาร
๒) ผู้ดูแลระบบตั้งค่าจำนวนผู้มีส่วนได้เสียภายใน (IIT)
๓) การนำเข้าข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) พ.ต.ท.ภูวดล ควบคุม
พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ดูแล
๒ ๑ มกราคม ๒๕๖๗ ถึง ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๗ -เก็บข้อมูลแบบวัด การรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใน (IIT) กลุ่มตัวอย่าง ครบตามจำนวนขั้น ต่ำที่กำหนด ตามคู่มือ การเก็บรวบรวมข้อมูล
-สถานีนำ URL หรือ QR code ให้ ตร.ในสังกัด ตอบแบบวัด IIT -ข้อมูลเข้าสู่ระบบ ITAP โดยตรง การเก็บข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน มีขั้นตอน ดังนี้
๑) พัฒนาระบบงาน การบริหารงบประมาณ การ บริหารงานบุคคล การจัดการทรัพย์สินทางราชการ ส่งเสริมวัฒนธรรมสุจริต นำมาตรการ ป้องกันการ ทุจริตไปสู่การปฏิบัติ เผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ สร้างการรับรู้ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การ พัฒนาหน่วยงานตามแนวทางการ ประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ หน่วยงาน ภาครัฐอย่างต่อเนื่อง
๒) ผู้ดูแลระบบเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ช่องทาง การตอบแบบวัด IIT โดยคำนึงถึงความครอบคลุม ของบุคลากรทุกส่วนงานและทุกระดับ
๓) ผู้บริหารและผู้ดูแลระบบกำกับติดตามให้ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียภายในเข้ามาตอบตามระยะเวลาที่ กำหนดให้ครบตามจำนวนขั้นตํ่า ที่กำหนด ๑.พ.ต.ท.ภูวดล
๒.พ.ต.ท.ภูวดล
๓.พ.ต.ท.ภูวดล รวบรวมข้อมูล/ตรวจสอบในระบบ ITAP
๔.จนท.ตร.ในสังกัดทุกนายปฏิบัติ
๓ ๑ มกราคม ๒๕๖๗ ถึง ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๗ เก็บข้อมูลแบบวัด การรับรู้ของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ภายนอก (EIT) กลุ่มตัวอย่าง ไม่น้อยกว่า ๕๐๐ คน/ สถานี
-ฝ่ายอำนวยการ ไม่น้อยกว่า ๕๐คน
-ฝ่ายป้องกันปราบปรามไม่น้อยกว่า ๑๕๐ คน
-ฝ่ายจราจร ไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน
-ฝ่ายสืบสวน ไม่น้อยกว่า ๕๐ คน
-ฝ่ายสอบสวน ไม่น้อยกว่า ๑๕๐ คน
-สถานีนำ URL หรือ QR code ให้ กับผู้รับบริการที่รับบริการหรือมา ติดต่อกับสถานี ตอบแบบวัด EIT -ข้อมูลเข้าสู่ระบบ ITAP โดยตรง การเก็บข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก มีขั้นตอนดังนี้
๑) พัฒนาการปฏิบัติหน้าที่/การให้บริการ และการอำนวย ความ สะดวก เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์องค์กรที่ ท้นสมัยและโปร่งใส ต่อผู้รับบริการผู้มารับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียภายนอกอย่าง ต่อเนื่อง
๒) ผู้ดูแลระบบเผยแพร่และประชาลัมพันธ์ช่องทางการ ตอบแบบวัด ETT โดยคำนึงถึงความสะดวกของผู้มาติดต่อ หรือผู้รับบริการ ในการเข้าถึงช่องทางการตอบแบบวัด EIT
๓) ผู้บริหารและผู้ดูแลระบบกำกับติดตามให้ผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย ภายนอกเข้ามาตอบตามระยะเวลาที่กำหนดให้ครบ ตามจำนวนขั้นตํ่า ที่กำหนด
๔) ผู้มาติดต่อหรือรับบริการจากหน่วยงานในช่วง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ สามารถเข้าตอบแบบวัด EIT ของหน่วยงานภาครัฐระดับ ตํ่ากว่ากรมได้ด้วยตนเอง ดังนี้ -สถานีตำรวจเข้าตอบโดยตรงที่เว็บไซต์ https://itap.nacc.go.th/ -ฝ่ายอำนวยการ ไม่น้อยกว่า ๕๐ คน ร.ต.ต.ทักเทพ รวบรวมข้อมูล
-ฝ่ายป้องกันปราบปรามไม่น้อยกว่า ๑๕๐ คน
จ.ส.ต.เสกสรรค์
รวบรวมข้อมูล
-ฝ่ายจราจร ไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน
จราจรทุกนาย ปฏิบัติ
จ.ส.ต.สุธีทร รวบรวมข้อมูล
-ฝ่ายสืบสวน ไม่น้อยกว่า ๕๐ คน
สืบสวนทุกนายปฏิบัติ
ด.ต.สันติชัย รวบรวมข้อมูล
-ฝ่ายสอบสวน ไม่น้อยกว่า ๑๕๐ คน
พงส./ผู้ช่วย ทุกนายปฏิบัติ
ร.ต.ต.ทักเทพ รวบรวมข้อมูล
๔ ๑ มกราคม ๒๕๖๗ ถึง ๓๐ เมษายน ๒๕๖๗ เก็บข้อมูลแบบวัด การเปิดเผย ข้อมูล สาธารณะ (OIT) การเก็บข้อมูลการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะมีขั้นตอนดังนี้
๑) ผู้ดูแลระบบรายงานข้อมูลการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ ตามแบบวัด OIT
๒) ผู้บริหารตรวจสอบและอนุมัติข้อมูลการเปิดเผยข้อมูล สาธารณะ ตามแบบวัด OIT พ.ต.ท.ภูวดล ควบคุม
พ.ต.ท.ภูวดล ผู้ดูแลระบบ -รายชื่อ จนท.รับผิดชอบตามปฏิทิน กิจกรรม OIT (ผนวก ข.)
ช่วงดำเนินการตรวจ OIT และกระบวนการอุทธรณ์
๑ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๗ ถึง ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๗ การตรวจ OIT และการให้ข้อสังเกต การตรวจให้คะแนนการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT) โดยหน่วยประเมินจะดำเนินการตรวจสอบการเปิดเผย ข้อมูลสาธารณะ และพิจารณาให้คะแนนแบบวัด OIT ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ผู้บริหาร , ผู้ดูแลระบบ
๒ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๗ ถึง ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๗ กระบวนการอุทธรณ์ เปิดโอกาสให้หน่วยระดับต่ำกว่ากรมยื่นอุทธรณ์ผลคะแนน การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT) ผ่านระบบสารสนเทศ https://itap.nacc.go.th/ ผู้บริหารอนุมัติ , ผู้ดูแลระบบ
ช่วงสรุปผลและเผยแพร่ผลการประเมิน
๑ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๗ ถึง ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๗ การประมวลผลการประเมินและ จัดทำรายงานผลการประเมิน หน่วยประเมินตรวจสอบการเปิดเผยข้อมูล สาธารณะ (OIT) ของหน่วยงานระดับตากว่ากรมที่ ยื่นอุทธรณ์ เพื่อให้คะแนนแบบวัด (OIT)ตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนดสอบทานความถูกต้องและ สรุปผล พร้อมทั้งจัดทำข้อเสนอแนะเพิ่มเดิม ประกอบรายงานผลการประเมิน ผู้บริหารอนุมัติ ผู้ดูแลระบบ
๒ เดือน สิงหาคม ๒๕๖๗ การกลั่นกรองและนำเสนอผล การประเมิน รับรองผลก่อนการ ประกาศผลประกาศและเผยแพร่ ผลการ ประเมิน หน่วยประเมินดำเนินการเสนอผลการประเมินต่อ คณะกรรมการ ที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณากลั่นกรอง และประกาศเผยแพร่ผล การประเมินต่อสาธารณะ ดาวน์โหลดผลการประเมินที่ระบบสารสนเทศ https://itap.nacc.go.th/ ผู้บริหารอนุมัติ ผู้ดูแลระบบ
หมายเหตุ กำชับทุกนายดำเนินการโดยเคร่งครัดอย่าให้เกิดข้อบกพร่องหากติดขัดหรือมีข้อขัดข้องประการใดให้แจ้งประธานคณะทำงานทราบ
พ.ต.อ.
( ฐานุพงศ์ แสงซื่อ )
ผกก.สภ.หนองไผ่

ขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตำรวจประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๗ (ระดับสถานีตำรวจ)
เมื่อวันที่ ๕ ม.ค. ๒๕๖๗ สถานีตำรวจภูธรหนองไผ่ ได้ดำเนินการประชุมการขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ โดยมี พ.ต.อ.ฐานุพงศ์ แสงซื่อ ผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรหนองไผ่ เป็นประธานการประชุม ซึ่งการประชุมดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ เพื่อแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตำรวจ และทำความเข้าใจกรอบการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ของสถานีตำรวจ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ ประกอบด้วย 3 ประเด็นสำคัญ ได้แก่
1) การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT)
– ให้สถานีตำรวจ ศึกษา และจัดทำประเด็นแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT) เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ผ่านหน้าเว็บไซต์หลักของสถานีตำรวจ อย่างต่อเนื่อง
2) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT)
– ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ ทำความเข้าใจในข้อคำถามและสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับ ประเด็น ข้อคำถามให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในทราบ ก่อนทำการประเมินแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT)
– มอบหมายให้ฝ่ายอำนวยการ ดำเนินการเผยแพร่ความรู้เพื่อพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่และการ ให้บริการตามประเด็นการประเมิน พร้อมทั้งมีการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่อง อื่น ๆ ในการประชุมได้มีการมอบหมายให้หัวหน้าแต่ละแผนกงาน ทำความเข้าใจ เกี่ยวกับ การประเมินแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) เพื่อให้เจ้าหน้าที่ในแผนกได้ทำความเข้าใจ และสามารถ ทำแบบประเมินได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
3) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT)
– ให้สถานีตำรวจประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ของสถานีตำรวจ ให้แก่ ประชาชน ผู้มาใช้บริการประจำจุดประชาสัมพันธ์ ให้คำแนะนำและขอความร่วมมือในการทำแบบวัดการรับรู้ของผู้ มีส่วนได้ ส่วน เสียภายนอก (EIT)
– มอบให้ฝ่ายอำนวยการ ให้พัฒนาและยกระดับการให้บริการ จัดเจ้าหน้าที่ ณ จุด ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ขั้นตอน คู่มือการปฏิบัติงาน
– มอบหมายให้คณะทำงานฯ เผยแพร่สื่อสารประชาสัมพันธ์ ข้อมูลผลการ ดำเนินงาน และกิจกรรม ต่าง ๆ ที่สถานีตำรวจดำเนินการร่วมกับประชาชนชน ชุมชน ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และ เผยแพร่ ผ่าน Website และ Facebook ของสถานีตำรวจ
– มอบหมายให้คณะทำงานฯ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ เผยแพร่ QR Code หรือ URL ช่องทางการเข้าตอบ แบบวัด การรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) Website และ Facebook ของสถานีตำรวจ ให้แต่ละแผนกงานจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ QR Code หรือ URL ช่องทางการเข้า ตอบ แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) Website และ Facebook ของสถานีตำรวจ

ประชุมชี้แจงการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน
วันที่ ๕ ม.ค. ๒๕๖๗ พ.ต.อ.ฐานุพงศ์ แสงซื่อ ผกก.สภ.หนองไผ่ เป็นประธาน ประชุมอบรมชี้แจงเจ้าหน้าที่ตำรวจทุกสายงาน ได้ทราบถึงแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม ประมวลจริยธรรมข้าราชการตำรวจ แนวทางการป้องกันการรับสินบนในการปฏิบัติงาน และประกาศนโยบายต่อต้านการรับสินบน (Anti-Bribery Policy) เพื่อเป็นการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสในการปฏิบัติงานของสถานีตำรวจ และกำชับการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจให้มีความโปร่งใส สุจริต ยุติธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ ดำรงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์ศรีความเป็นตำรวจ ณ ห้องประชุมสถานีตำรวจภูธรหนองไผ่

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *